ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลเขาแก้ว
ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2523 โดยงบประมาณของโครงการสร้างงานในชนบท (กสช.) จำนวน 251,100 บาท เพื่อใช้เป็น
1. ศูนย์พัฒนาตำบล ( ที่ทำการสภาตำบล )
2. ศูนย์ราชการประจำตำบล
3. ศูนย์ข้อมูลระดับตำบล
การยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล จากสภาตำบล ตามราชกิจจา เล่มที่ 133 ตอนพิเศษ 52ง จึงจัดตั้งสภาตำบลเขาแก้วเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลเขาแก้ว เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540
การยกฐานะเป็นเทศบาล อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล ( ฉบับที่5 ) พ.ศ. 2546 และมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย จึงจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลเขาแก้วเป็นเทศบาลตำบลเขาแก้ว เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2548
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
1. สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง พิกัด QV 900699
เทศบาลตำบลเขาแก้ว ทิศเหนือ ติดกับ ต.เชียงคาน, ต.บุฮม, อ.เชียงคาน ทิศใต้ ติดกับ ต.จอมศรี, ต.ธาตุ อ.เชียงคาน ทิศตะวันออก ติดกับ ต.ชมเจริญ อ.ปากชม ต.ธาตุ อ.เชียงคาน ทิศตะวันตก ติดกับ ต.นาซ่าว อ. เชียงคาน มีระยะทางห่างจากอำเภอเชียงคาน ประมาณ 15 กิโลเมตร
ตำบลเขาแก้ว มีเนื้อที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบเชิงเขา โดยมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 133 กิโลเมตร หรือประมาณ 83,125 ไร่
1.2 ภูมิประเทศ
มีหมู่บ้านตั้งอยู่ตามที่ราบลุ่ม 10 หมู่บ้าน ตั้งอยู่ที่ราบเชิงเขา 3 หมู่บ้าน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสงวน (ป่าภูเขาแก้ว –ดงปากชม) ส่วนพื้นที่การเกษตรใช้ปลูกข้าว มันสำปะหลัง ทำสวน
1.3 จำนวนหมู่บ้าน 13 หมู่บ้าน
เป็นหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทั้ง 13 หมู่บ้าน
- หมู่ที่ 1 บ้านโสกเก่า
- หมู่ที่ 2 บ้านโสกใหม่
- หมู่ที่ 3 บ้านนาเบน
- หมู่ที่ 4 บ้านนาป่าหนาด
- หมู่ที่ 5 บ้านวังอาบช้าง
- หมู่ที่ 6 บ้านตาดซ้อ
- หมู่ที่ 7 บ้านเขาแก้ว
- หมู่ที่ 8 บ้านท่าบม
- หมู่ที่ 9 บ้านท่าบม
- หมู่ที่ 10 บ้านโสกเก่า
- หมู่ที่ 11 บ้านโสกใหม่
- หมู่ที่ 12 บ้านนาป่าหนาด
- หมู่ที่ 13 บ้านท่าบม
1.4 กลุ่มดิน คุณภาพของดิน
ชุดดิน แยกชุดดินแยกตามข้อมูลประกอบแผนที่ ที่ดินตามสถานีพัฒนาจังหวัดเลย ดังรายละเอียดในแผนที่ดังนี้
หน่วยแผนที่ที่ดินที่ 2 เป็นกลุ่มดินที่มีเนื้อดินเหนียวลึก มีระบายน้ำเลว มักมีน้ำท่วมขังบนผิวดิน ในช่วงฤดูฝนเป็นระยะเวลา 3-4 เดือน มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง พบบนที่ราบน้ำท่วมถึงที่สภาพพื้นที่ค่อนข้างเรียบมีความลาดชัน 1-2% ระดับความสูงจากน้ำทะเลปานกลางมากกว่า 20 เมตรขึ้นไป ดินชุดนี้อยู่บริเวณ บ้านโสกใหม่ หมู่ 1 หมู่10 และ บ้านโสกใหม่ หมู่ 2 หมู่ 11
หน่วยแผนที่ที่ 17 เป็นกลุ่มดินที่มีเนื้อดินเหนียวลึก ระบายน้ำเลวมักมีน้ำท่วมขังบนดิน ในช่วงฤดูฝนเป็นระยะเวลา 3 - 4 เดือน มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง พบบนที่ราบน้ำท่วมถึงที่สภาพพื้น ที่ค่อนข้างเรียบมีความลาดชัน 0-2% ระดับความสูงจากน้ำทะเลปานกลาง 240-320 เมตร ดินชุดนี้อยู่บริเวณ บ้านนาเบน หมู่ 3 บ้านเขาแก้ว หมู่ 7 บ้านท่าบม หมู่ 8 บางส่วน บ้านตาดซ้อ หมู่ 6 บางส่วน บ้านโสกเก่า หมู่ 10
หน่วยแผนที่ที่ 25 เป็นกลุ่มดินที่มีเหนียวปนเศษหิน ค่อนข้างลึกถึงดินตื้น มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลางถึงค่อนข้างต่ำ พบบนพื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน มีสภาพค่อนข้างเรียบ มีความลาดชัน 0-2% ระดับความสูงจากน้ำทะเลปานกลาง 240-320 เมตร ดินชุดนี้อยู่บริเวณ บ้านนาป่าหนาด หมู่ 4 และหมู่ 12 บ้านโสกเก่า หมู่ 10 และบ้านโสกใหม่ หมู่ 11
ปัญหาสำคัญในดินกลุ่มนี้ เนื้อดินไม่เหมาะสมสำหรับดินบางชนิด
หน่วยแผนที่ที่ 35 เป็นกลุ่มดินที่มีเนื้อดินเหนียว ดินลึกถึงลึกมากระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ำ พบบนพื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดมีความลาดชัน 2-5% ระดับความสูงจากน้ำทะเลปานกลาง 240-320 เมตร
ปัญหาที่สำคัญในดินกลุ่มนี้ ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ
หน่วยแผนที่ที่ 38 เป็นกลุ่มดินที่มีเนื้อดินเหนียวปนเศษดิน ค่อนข้างลึกถึงดินตื้น มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลางถึงค่อนข้างต่ำ พบบนพื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อนมีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดมีความลาดชัน 2-5% ระดับความสูงจากน้ำทะเลปานกลาง 240-320 เมตร
ปัญหาสำคัญในดินกลุ่มนี้ ได้แก่ เนื้อดินไม่เหมาะสมสำหรับพืชบางชนิด
ดินชุดนี้อยู่บริเวณ บ้านนาป่าหนาด หมู่ 4 หมู่ 12 บ้านเขาแก้ว หมู่ 7
หน่วยแผนที่ที่ 46 เป็นกลุ่มดินที่มีเนื้อดินเหนียวปนเศษดิน ค่อนข้างลึกถึงดินตื้น มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลางถึงค่อนข้างต่ำ พบบนพื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดมีความลาดชัน 5-8% ระดับความสูงจากน้ำทะเลปานกลาง 240-320 เมตร
ชุดนี้อยู่บริเวณ บ้านโสกเก่า หมู่ 10 และบ้านโสกใหม่ หมู่ 11 และ บ้านท่าบม หมู่ 9 บางส่วน
ปัญหาสำคัญในดินกลุ่มนี้
ได้แก่ เนื้อดินไม่ค่อยเหมาะสมสำหรับพืชบางชนิด ความลาดชันปานกลาง มีแนวโน้มจะเกิดการกัดกร่อนพังทลายได้ง่าย จำเป็นต้องมีมาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ำเป็นอย่างดี
สมรรถนะ และความเหมาะสมของดิน
หน่วยแผนที่ที่ 2,7 เป็นดินเหนียวระบายน้ำไม่ดี มีน้ำท่วมขัง 3-4 เดือน จึงเหมาะสมสำหรับการทำนาปลูกข้าว นาปี หรือเลี้ยงสัตว์น้ำต่างๆ ได้
หน่วยแผนที่ที่ 25 เป็นดินเหนียวปนเศษหิน เหมาะสำหรับการปลูกไม้ผล ได้แก่ มะม่วง มะขาม ลำไย
หน่วยแผนที่ที่ 34, 35, 38, 46 เป็นดินเหนียวลึกถึงลึกมาก เหมาะแก่การปลูกพืชไร่ต่างๆ ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง ข้าวไร่ ฝ้ายและไม้ผลต่างๆ
การใช้ดิน
การใช้ดินในการปลูกพืช มีการใช้ดินในการปลูกพืชตามสภาพและความเหมาะสมเต็มพื้นที่ นอกจากนี้จะมีความผันแปรทางธรรมชาติหรือฤดูกาล เช่น น้ำท่วม แห้งแล้ง พายุ
1.5 ประชากร
ประชากรทั้งสิ้น 7,837 คน แยกเป็น ชาย 3,962 คน หญิง 3,875 คน
จำนวนครัวเรือน 2,089 ครัวเรือน
( ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2561 )
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
จำนวนครัวเรือน |
ตามทะเบียนราษฎร |
ที่อาศัยอยู่จริง |
ตามทะเบียนราษฎร |
ที่อาศัยอยู่จริง |
บ้านโสกเก่า |
649 |
649 |
181 |
181 |
บ้านโสกใหม่ |
794 |
794 |
191 |
191 |
บ้านนาเบน |
939 |
939 |
209 |
209 |
บ้านนาป่าหนาด |
536 |
536 |
169 |
169 |
บ้านวังอาบช้าง |
278 |
278 |
79 |
79 |
บ้านตาดซ้อ |
832 |
832 |
234 |
234 |
บ้านเขาแก้ว |
359 |
359 |
83 |
83 |
บ้านท่าบม |
738 |
738 |
198 |
198 |
บ้านท่าบม |
562 |
562 |
155 |
155 |
บ้านโสกเก่า |
629 |
629 |
168 |
168 |
บ้านโสกใหม่ |
554 |
554 |
144 |
144 |
บ้านนาป่าป่าหนาด |
503 |
503 |
157 |
157 |
บ้านท่าบม |
464 |
364 |
121 |
121 |
รวม |
7,837 |
7,837 |
2,089 |
2,089 |
ตารางเปรียบเทียบช่วงชั้นอายุ ของประชากร ( ข้อมูล จาก ทะเบียนราษฎร )
1.6 ท้องถิ่นอื่นในตำบล ไม่มี
2. สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรรม อาชีพรับจ้าง และค้าขายบางส่วน
2.2 หน่วยธุรกิจในเขต เทศบาลตำบล คือ
ปั๊มน้ำมันขนาดเล็ก 6 แห่ง
ปั๊มน้ำมันขนาดกลาง 1 แห่ง
โรงสีขนาดกลาง 14 แห่ง
3. สภาพทางสังคม
3.1 การศึกษา
- โรงเรียนประถมศึกษา 6 แห่ง (ร.ร. เอกชน 1 แห่ง)
- โรงเรียนมัธยมศึกษา 3 แห่ง ( ร.ร.ขยายโอกาส 1 แห่ง เอกชน 1 แห่ง )
- ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 13 แห่ง
- ศูนย์การเรียนชุมชน 1 แห่ง
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6 แห่ง
- ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล 1 แห่ง
- ศูนย์สารสนเทศประจำตำบล 1 แห่ง
3.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา
- วัด / สำนักสงฆ์ 14 แห่ง
- โบสถ์ 1 แห่ง
3.3 การสาธารณสุข
- สถานีอนามัยประจำตำบล / หมู่บ้าน 3 แห่ง
- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำร้อยละ 100
- มีการจัดตั้ง อ.ส.ม. ทุกหมู่บ้าน
- สถานพยาบาลและการผดุงครรภ์ 2 แห่ง
- ศูนย์ ศสมช. 13 แห่ง
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- ที่ทำการตำรวจชุมชนตำบล 1 แห่ง
- อปพร. ประจำตำบลจำนวน 2 รุ่น 100 คน
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
- ถนนลาดยาง รพช. หมายเลข 3012 สายนาบอน - สงเปือย ผ่าน 12 หมู่บ้าน
- ถนน คสล.เชื่อมระหว่าง บ้านนาป่าหนาด-บ้านวังอาบช้าง และบ้านโสกเก่า-บ้านอุมุง
- ถนนภายในหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นคอนกรีตเสริมไม้ไผ่และลูกรังบดอัดบางส่วน (เอกชน)
- ถนนลาดยางเชื่อมต่อระหว่างตำบล
4.2 การโทรคมนาคม
- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง (เอกชน)
- ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 21 แห่ง
- มีคลื่นสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้บริการมากกว่าร้อยละ 80 ของพื้นที่ในช่วงอากาศปลอดโปร่ง
4.3 การไฟฟ้า
- มีไฟฟ้าใช้ทุกหมู่บ้าน รวม 13 หมู่บ้าน
- จำนวนประชากรที่ใช้ 1,790 ครัวเรือนเป็นร้อยละ 97
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำน้ำ,ลำห้วย 5 สาย - บึง,หนอง อื่น ๆ 5 แห่ง
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 14 แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 175 แห่ง
- บ่อโยก 42 แห่ง
- สระน้ำ 25 แห่ง
- ประปาหมู่บ้าน 13 แห่ง
- น้ำซับ 6 แห่ง
5. ข้อมูลอื่น ๆ
5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
ตำบลเขาแก้ว มีพื้นที่เป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ คือ ป่าวัดภูเขาแก้ว – ดงปากชม เป็นแหล่งต้นน้ำหลักของตำบลมีแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติที่สวยงามรองรับการท่องเที่ยวได้ เช่น น้ำตกห้วยน้ำมี น้ำตกห้วยม่วง ห้วยตาด และถ้ำเม่น
ตำบลเขาแก้ว มีแหล่งหินแกรนิต, แร่เหล็ก, แร่แบไรท์ ที่สามารถดำเนินการในเชิงอุตสาหกรรมได้ และมีหินเขี้ยวแก้วหนุมานสามารถเจียรนัยเป็นเครื่องประดับตกแต่งได้
5.3 มวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน 2 รุ่น 400 คน
- อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน 1 กลุ่ม 63 คน
- เยาวชนตำบล 1 กลุ่ม 244 คน
- กรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน 1 กลุ่ม 195 คน
- กรรมการพัฒนาสตรีตำบล 1 กลุ่ม 26 คน
- กลุ่มเกษตร 13 กลุ่ม 717 คน
5.4 แหล่งวัฒนธรรมประเพณี
ตำบลเขาแก้ว มีศูนย์วัฒนธรรมไทดำบ้านนาป่าหนาด จัดแสดงถึงวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวไทดำ เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าและสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดเลย มีโบสถ์คริสต์ประกอบพิธีทางศาสนาคริสต์ และมีพระสารีริกธาตุที่เป็นที่เคารพบูชาในตำบล
6. ศักยภาพของเทศบาลตำบล
6.1 สมาชิกสภาเทศบาลตำบล 12 คน
ปริญญาตรี 1 คน
อนุปริญญา 2 คน
มัธยมศึกษา 2 คน
ประถมศึกษา 7 คน
6.2 ผู้บริหารท้องถิ่น (นายกเทศมนตรี) จำนวน 1 คน
วุฒิการศึกษา อนุปริญญา
6.3 คณะบริหาร จำนวน 8 คน
- รองนายกเทศมนตรี จำนวน 2 คน
- เลขานุการผู้บริหาร จำนวน 1 คน
- ที่ปรึกษานายก จำนวน 1 คน
- ปริญญาตรี จำนวน 2 คน
- มัธยมศึกษา จำนวน 2 คน
6.4 พนักงานส่วนตำบล/ลูกจ้าง จำนวน 53 คน ประกอบด้วย
ส่วน/ตำแหน่ง
|
จำนวน (คน)
|
การศึกษา
|
รวม
(คน)
|
สูงกว่า ป.ตรี
|
ป.ตรี
|
อนุปริญญา/อาชีวศึกษา
|
มัธยมศึกษา
|
ประถมศึกษา
|
สำนักปลัด
พนักงานส่วน ทต.
ลูกจ้างประจำ
พนักงานจ้างตามภารกิจ
พนักงานจ้างทั่วไป
|
10
1
1
2
|
1
-
-
-
|
6
-
-
-
|
3
1
1
-
|
-
-
-
-
|
-
-
-
2
|
10
1
1
2
|
ส่วนการคลัง
พนักงานส่วน ทต.
พนักงานจ้างทั่วไป
|
4
4
|
-
-
|
3
1
|
1
3
|
-
-
|
-
-
|
4
4
|
กองช่างโยธา
พนักงานส่วน ทต.พนักงานจ้างทั่วไป
|
6
2
|
-
-
|
1
-
|
5
2
|
-
-
|
-
-
|
6
2<
|
|